วันพุธที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2554

บันทึกครั้งที่ 11

วันที่ 27 เดือนกุมพาพันธ์ พ.ศ.2554
ในวันนี้เป็นวันสอบสอน วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยหน่วยที่สอน
ได้สอนเกี่ยวกับเรื่อง ของใช้

บันทึกครั้งที่ 10

วันที่17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2554
อาจารย์สอนเกี่ยวกับขอบข่ายของคณิตศาสตร์สำหรับคณิตสำหรับเด็กปฐมวัย
มีการยกตัวอย่างบนกระดาน และมีการยกมือตบคำถามในชั้นเรียนด้วย

บันทึกครั้งที่ 9

วันที่ 10 เดือนกุมพาพันธ์ พ.ศ. 2554
เกมจับคู่ภาพสัตว์

เกมจับคู่รอยเท้า
เกมต่อจิ๊กซอร์รูปผีเสื้อ

เกมต่อจิ๊กซอร์รูคนข้ามถนน


เกมต่อจิ๊กซอร์รูปฝนตก

เกมต่อภาพจำนวนที่เท่ากัน

- เกมพื้นฐานการบวก
- เกมจับคู่ภาพแบบอุปมาอุปไมย
เกมจัดหมวดหมู่ภาพ ด้านหน้า ด้านข้าง ด้านหลัง

- เกมจับคู่ภาพซ้อน
- เกมจับคู่ภาพที่แทนด้วยสัญลักษณ์

บันทึกครั้งที่ 8

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2554
สาระที่ 1 : จำนวนและการดำเนินการจำนวนนับเป็นการบอกจำนวนของสิ่งของต่างๆ หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า ......
ศูนย์ไม่ใช่จำนวนนับ ตัวเลขเป็นสัญลักษณะของการแสดงจะนวน
พื้นฐานที่ใช้ในการเขียนแสดงจำนวนเรียกว่า เลขโดดในระบบเลขฐานสิบมี 10 ตัว
ตัวเลขฮินดูอารบิก 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ตัวเลขไทย ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙
การรวมตัวเป็นการนับรวมจำนวนต่างๆสองกลุ่มได้ผลรวมมากขึ้น
การแยกเป็นการนำจำนวนสิ่งต่างๆออกจากกลุ่มใหญ่ แล้วบอกจำนวนที่เหลือ

สาระที่ 2 : การวัด การหาความยาวตามแนวนอน การวัดความสูงเป็นการหาความยาวแนวตั้ง
การวัดความยาวความสูงของสิ่งต่างๆ อาจใช้เครื่องที่มีหน่วย หรือไม่ใช้หน่วยมาตฐาน
เช่น ยาวกว่า สั้นกว่า สูงกว่า เตี้ยกว่า ยาวเท่ากัน/สูงเท่ากัน
เป็นการใช่เปรียบเทียบความยาว/ความสูงของสิ่งต่างๆการเรียกลำดับความยาว/ความสูง อาจเรียกจากน้อยไปมากหรือมากไปหาน้อยการชั่ง น้ำหนักของสิ่งต่างๆอาจใช้เครื่องวัด ชั่งน้ำหนักที่มีหน่วยไม่ใช่มาตรฐาน หนักกว่า เบากว่า
เป็นการเปรียบเทียบน้ำหนักสิ่งของ การตวง การเรียงปริมาตร

สาระที่ 3 : เรขาคณิตข้างบน ข้างล่าง ข้างใน ข้างนอก ข้างหลัง ระหว่าง
ข้างซ้าย ข้างขวา ใกล้ ไกล เป็นค่าที่ใช้บอกตำแหน่งทิศทางระยะทางของสิ่งต่างๆ

สาระที่ 4 : พีชคณิตแบบรูปเป็น ความสัมพันธ์ที่แสดงลักษณะสำคัญร่วมของชุดของจำนวนรูปเรขาคณิต หรือสิ่งต่างๆ
สาระที่ 5 : การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็นการเก็บรวมรวบข้อมูลอาจใช้วิธีการสังเกตหรือสอบถามก็ได้ แผนภูมิรูปภาพ
เป็นการนำเสนอข้อมูลอย่างง่ายโดยใช้รูปภาพแสดง จำนวนของสิ่งต่างๆ
อาจวาดรูปตามแนวนอนหรือแนวตั้งก็ได้

บันทึกครั้งที่ 7

วันที่ 27 มกราคม 2554

- อาจารย์ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม
- ให้คิดหน่วยการเรียนรู้กลุ่มละหน่อย
- ให้แตกหน่วยเป็น Mind Map
- และแตกออกเป็นขอบข่ายของคณิตศาสตร์ไปใช้ในกิจกรรม
- ให้คิดกิจกรรมการสอนเป็น 4 วัน
- เขียนแผนการจัดประสบการณ์
ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
การนับ
ตัวเลข
การจับคู่
การคำนวณ
การเปรียบเทียบ
การจัดลำดับ
รูปทรงเเละเนื้อที่
การวัด

บันทึกครั้งที่ 6

วัน พฤหัสบดี ที่ 20 มกราคม 2554

เรื่องคำศัพท์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ตัวเลข การนับวันที่ เวลาจากตอนเช้า เที่ยง เย็น
ขนาด เล็ก ใหญ่ กลาง กว้าง
รูปร่าง สูง เตี้ย อ้วน บาง
ที่ตั้ง ก่อนจะถึงบ้านเราสามบ้านเป็นบ้านป้า
ค่าของเงิน บาท
ความเร็ว ความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับสิ่งที่ทำ คือ ระยะทางกับเวลา
อุณหถูมิ ร้อน เย็น หนาว อบอุ่นมาตรฐานการวัดในระบบเมตริก

*คำศัพท์ที่เด็กควรทราบ ระบบเมตริกที่ใช้ในชีวิตประจำวัน การวัดเครื่องเวลาหลัดสูตรการสอนต้องมีความสมดุลในเรื่องต่อไปนี้
1. เน้นกระบวนการคิดและพัฒนาความคิดรวมยอด
2. เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช้ภาษาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
3. แนะนำคำศัพท์ใหม่และสัญลักษณ์อย่างค่อยเป็นค่อยไป
4. ส่งเสริมให้เด็กเกิดความเชื่อมั่นและค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบ
5. ส่งเสริมให้เด็กเกิดการรับรู้สามารถบรรยายและค้นคว้าเพิ่มเติม
6. เน้นให้เด็กเกิดความคิดรวมยอดมีทักษะทางคณิตศาสตร์ไปพร้อมกัน เช่น การทดลองที่เกิดจากการนับจำนวน จากกิจกรรม
7. เปิดโอกาศให้เด็กได้ค้นคว้าสำรวจปฎิบัติรู้จักการตัดสินใจด้วยตนเองหลักการทางคณิตศาสตร์ครูที่ดีนอกจากจะเข้าใจพัฒนาการธรรมชาติของเด็ก การเรียนรู้ของเด็กและขอบข่ายหลักสูตรอย่างลึกซึ้งแล้ว ยังจะต้องเป็นผู้ที่รู้และเข้าใจ
หลักการสอนคณิตศาสตร์
1. สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2. เปิดโอกาศให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่ทำให้พบคำตอบด้วยตนเอง
3. มีเป้าหมายและการวางแผนอย่างดี
4. เอาใจใส่ในเรื่องการเรียนรู้และลำดับขั้นตอนการพัฒนาความคิดรวมยอดของเด็ก
5. ใช้การจดบันทึกพฤติกรรม เพื่อใช้ในการวางแผนและจัดกิจกรรม
6. ใช้ประโยชน์จากประการณ์เดิมของเด็ก
7. รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นให้เป็นประโยชน์
8. ใช้วิธีการสอดแทรกกับชีวิตจริง เพื่อสอนความคิดรวบยอดที่ยากๆ
*--------------------------------------------------------------------------------*
เพลง ขวดห้าใบ
ขวดห้าใบวางอยู่บนกำแพง (ซำ)
เราเอาหินปาไปมันกลิ้งตกลงมา
คงเหลือขวดกี่ใบวางอยู่บนกำแพง
(ลดจำนวนขวดลงไปตามลำดับ จนกระทั้งเหลือขวดหนึ่งใบ)
ไม่มีขวดเหลือเลยวางอยู่บนกำแพง จะอย่างไรกันดี
เพลง จับปู
1 2 3 4 5 จับปูม้ามาได้หนึ่งตัว
6 7 8 9 10 ปูมันหนีบฉันต้องสายหน้า
กลัว ฉันกลัวๆ ปูหนีบที่หัวแม่มือ
ลาล้าลา....................

บันทึกครั้งที่ 5

วันที่ 15 มกราคม 2554
สอนความรู้ด้านคณิตศาสตร์ตามหลักเพียเจต์
ในกิจกรรมกลางแจ้งสำหรับเด็กปฐมวัย เช่น เครื่องเล่นสนาม,เล่นลูกบอล
การสอนให้สอดคล้องและบูรณาการทางคณิตศาสตร์
จะเป็นการเรียนการสอนโดยครูและเด็กอย่างเดียวไม่ได้ต้องมีการร่วมมือ
และมีส่วนร่วมกับผู้ปกครองด้วย

1. คณิตศาสตร์มีความสำคัญในชีวิตประจำวัน
2 .คณิตศาสตร์เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัว คล้ายกับวิทยาศาสตร์

- การเปรียบเทียบ
- การจัดลำดับ
- รูปทรงและเนื้อที่
- การวัด

หลักการสอนคณิตศาสตร์เเก่เด็กปฐมวัย
การมีส่วนร่วมในบ้าน การให้ความรู้กับผู้ปกครอง เป็นจุลสาร สานสัมพันธ์ เเบบกิจกรรม เเบบงานให้เด็กกลับไปทำกับผู้ปกครอง ทำให้เกิดองคืความรู้ เพราะคณิตศาสตร์เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา เพลงจะสอดเเทรก เรียงลำดับกิจกรรม , การนับ เดือน วันในหนึ่งสัปดาห์ , เครื่องมือ
เพลง....สวัสดียามเช้า
ตื่นเช้าเเปรงฟันล้างหน้า
อาบน้ำมาเเต่ตัวกินอาหารของดีมีทั่ว
หนูเตรียมตัวจะไปโรงเรียนสวัสดีคุณเเม่คุณพ่อ
ไม่รีรอรีบไปโรงเรียนหลั่นล้า หลั่นลา หลั่นหล่า หลั่น ลันลา
หลั่นล้า หลั่นล้า
เพลง...สวัสดีคุณครู
สวัสดีคุณครูที่รัก
หนูจะตั้งใจอ่านเขียนยามเช้าเรามาโรงเรียนๆ
หนูจะพากเพียรขยันเรียนเอย
เพลง...หนึ่งปีมีสิบสองเดือน
หนึ่งปีนั้นมีสิบสองเดือน
อย่าลืมเลือนจำไว้ให้มั่นหนึ่งสัปดาห์นั้นมีเจ็ดวัน
อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธพฤหัส ศุกร์ เสาร์
เพลง....เข้าเเถว
เข้าเเถว เข้าเเถว
อย่าล้ำเเนวยืนเรียงกันอย่ามัวเเชเชือนดินตามเพื่อนทัน
ระวังเดินชนกันเข้าเเถวพลันว่องไว
เพลง...จัดเเถว
สองมือเราชูตรง
เเล้วเอาลงมาเสมอกันกับบ่าต่อไปย้ายไปข้างหน้า
เเล้วเอาลงมาอยู่ใท่ยืนตรง